หลักสูตรนักบริหารระดับสูง "ธรรมศาสตร์
  • หน้าแรก
  • รายละเอียดหลักสูตร
    • หลักสูตรธรรมศาสตร์เพื่อสังคม
      • หลักการและเหตุผล นมธ.
      • การเรียนภาคทฤษฏี นมธ.
      • การเรียนภาคปฏิบัติ นมธ.
    • หลักสูตรธรรมศาสตร์เพื่อสังคมและโลก
      • หลักการและเหตุผล นมธล.
      • การเรียนภาคทฤษฏี นมธล.
      • การเรียนภาคปฏิบัติ นมธล.
    • หลักสูตร นมธจ.
      • หลักการและเหตุผล นมธจ.
  • เกี่ยวกับสถาบัน
    • ประวัติความเป็นมา
    • หลักการและเหตุผล
    • วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม
    • โครงสร้างผู้บริหาร
  • ลงทะเบียนออนไลน์
    • สมัคร นมธ. ๒๑
  • กิจกรรมเพื่อสังคม
    • ปีที่ 8
    • ปีที่ 7
    • ปีที่ 6
    • ปีที่ 5
    • ปีที่ 4
    • ปีที่ 3
    • ปีที่ 2
    • ปีที่ 1
  • ทำเนียบและกิจกรรมรุ่น
    • นมธ.
      • นมธ. 16
      • นมธ. 15
      • นมธ. 14
      • นมธ. 13
      • นมธจ. ๓
      • นมธ. 12
      • นมธ. 11
      • นมธ. 10
      • นมธ. 9
      • นมธ. 8
      • นมธ. 7
      • นมธ. 6
      • นมธ. 5
      • นมธ. 4
      • นมธ. 3
      • นมธ. 2
      • นมธ. 1
    • นมธล.
      • นมธล. 3
      • นมธล. 2
      • นมธล. 1
  • ข่าวสาร
    • บรรยากาศการเรียนรู้
    • คลิปวีดิโอข่าวสาร
  • ดาวน์โหลดเอกสารการอบรม
  • ติดต่อเรา
  • นมธล. 3
  • หน้าแรก
  • รายละเอียดหลักสูตร
    • หลักสูตรธรรมศาสตร์เพื่อสังคม
      • หลักการและเหตุผล นมธ.
      • การเรียนภาคทฤษฏี นมธ.
      • การเรียนภาคปฏิบัติ นมธ.
    • หลักสูตรธรรมศาสตร์เพื่อสังคมและโลก
      • หลักการและเหตุผล นมธล.
      • การเรียนภาคทฤษฏี นมธล.
      • การเรียนภาคปฏิบัติ นมธล.
    • หลักสูตร นมธจ.
      • หลักการและเหตุผล นมธจ.
  • เกี่ยวกับสถาบัน
    • ประวัติความเป็นมา
    • หลักการและเหตุผล
    • วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม
    • โครงสร้างผู้บริหาร
  • ลงทะเบียนออนไลน์
    • สมัคร นมธ. ๒๑
  • กิจกรรมเพื่อสังคม
    • ปีที่ 8
    • ปีที่ 7
    • ปีที่ 6
    • ปีที่ 5
    • ปีที่ 4
    • ปีที่ 3
    • ปีที่ 2
    • ปีที่ 1
  • ทำเนียบและกิจกรรมรุ่น
    • นมธ.
      • นมธ. 16
      • นมธ. 15
      • นมธ. 14
      • นมธ. 13
      • นมธจ. ๓
      • นมธ. 12
      • นมธ. 11
      • นมธ. 10
      • นมธ. 9
      • นมธ. 8
      • นมธ. 7
      • นมธ. 6
      • นมธ. 5
      • นมธ. 4
      • นมธ. 3
      • นมธ. 2
      • นมธ. 1
    • นมธล.
      • นมธล. 3
      • นมธล. 2
      • นมธล. 1
  • ข่าวสาร
    • บรรยากาศการเรียนรู้
    • คลิปวีดิโอข่าวสาร
  • ดาวน์โหลดเอกสารการอบรม
  • ติดต่อเรา
  • นมธล. 3

บรรยากาศการเรียนรู้

บรรยากาศการอบรมวันจันทร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2563

2/18/2020

0 Comments

 
     บรรยายช่วงที่ 1 
     ได้รับเกียรติ ดร.วิทย์ สิทธิเวคิน ตำแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการตลาด บ.ดีซี คอนซัลแทนส์ แอนด์ มาร์เก็ตติ้ง
คอมมิวนิเคชั่น จำกัด พิธีกร ผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์กองทัพบก บรรยายในหัวข้อ ความท้าทายระหว่าง เจเนอเรชั่น Baby Boomer ,GenX , GenY และ Social media
   ทำความรู้จักกลุ่มคนใน 4 เจเนอเรชั่น พร้อมเข้าใจลักษณะนิสัยและพฤติกรรมที่แตกต่างเพื่อการทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข
Baby Boomer Generation หรือ Gen B 
 คือคนมีอายุประมาณ 60 ขึ้นไป ลักษณะนิสัยจะเป็นคนจริงจัง เคร่งครัดเรื่องขนมธรรมเนียนประเพณี เป็นเจ้าคนนายคน ชีวิตทุ่มเทให้กับการทำงาน มีความอดทนสูง ประหยัดอดออม ซึ่งมักถูกจัดเป็นพวก "อนุรักษนิยม" คนในยุคนี้มีค่านิยมว่าต้องมีทายาทหรือลูกหลานเยอะๆ เพื่อเพิ่มจำนวนแรงงานมาช่วยกันพัฒนาประเทศ
​
Generation X หรือ Gen-X
ปัจจุบันคนยุค Gen-X เป็นคนวัยทำงาน มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป พฤติกรรมและลักษณะนิสัยของคนกลุ่มนี้ที่เด่นชัดคือ ชอบอะไรง่ายๆ ไม่ต้องเป็นทางการ มีแนวคิดสร้างความสมดุลในเรื่องงานและครอบครัว คือทำงานตามหน้าที่ ไม่บ้างาน ไม่ทุ่มเท ทำทุกอย่างได้เพียงลำพัง ไม่พึ่งพาใคร เป็นตัวของตัวเองสูง มีความคิดเปิดกว้าง สร้างสรรค์ 

Generation Y หรือ Gen-Y
 
จะเติบโตมาพร้อมกับเทคโนโลยีดิจิตัล มีความเป็นสากล เปิดรับวัฒนธรรมแบบ Teen Pop มองว่าการชื่นชอบศิลปินต่างชาติเป็นเรื่องปกติธรรมดา มีเทคโนโลยีพกพา รักความสะดวกสบาย เกิดมาในยุคที่เศรษฐกิจกำลังเติบโตและเฟื่องฟู  มีแนวคิดเป็นตัวของตัวเอง ทำในสิ่งที่ตัวเองชอบ และปฏิเสธสิ่งที่ตัวเองไม่ชอบ ต้องการความชัดเจนในการทำงาน คาดหวังที่จะมีเงินเดือนสูงๆ คาดหวังคำชม แต่ไม่อดทนต่องานที่ทำ ชอบเปลี่ยนงานอยู่บ่อยๆ คนกลุ่มนี้จะมีความสามารถในการทำงานที่เกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร ชอบงานด้านไอที ใช้ความคิดสร้างสรรค์ทำสิ่งใหม่ๆ รวมทั้งสามารถทำอะไรหลายๆ อย่างได้ในเวลาเดียวกัน 
             หลังจากที่วิทยากร ได้อธิบายลักษณะเด่นของแต่ละ Gen แล้ว ผู้อบรมน่าจะกำลังพิจารณาว่า ตัวเองตรงกับ Gen ไหนค่ะ 
แต่ไม่ว่าอย่างไร ทุก Gen ล้วนมีจุดเด่น จุดด้อย แตกต่างกันออกไป แต่ละสังคม องค์กร ต่างต้องอยู่ร่วมกัน ซึ่งมีทุก Gen นั่นเอง
ถ้าเราเข้าใจ เราจะสามารถบริหารทรัพยากรบุคคลในองค์กรของตนเอง ได้เป็นอย่างดี
            เมื่อจบการบรรยาย ในช่วงท้าย มีผู้อบรมจำนวนมาก สนใจสอบถามท่านวิทยากร เพิ่มเติมค่ะ อาทิเช่น จะทำอย่างไรที่จะสามารถทำให้สังคมที่มีทุก Gen อยู่ร่วมกันนั้นสามารถอยู่กันได้อย่างราบรื่น  เป็นต้น
            เชื่อว่า จากหัวข้อการบรรยายนี้ ผู้อบรมจะได้ประโยชน์ และสามารถนำไปปรับใช้กับองค์กรของตนเองต่อไป     
​
 บรรยายช่วงที่ 2
           ดร.ป๋วย...คนธรรมศาสตร์เพื่อสังคม
โดย ศาสตราจารย์ ดร.พนัส สิมะเสถียร รองประธาน บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด
        ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และนักวิทยาศาสตร์
        รองศาสตราจารย์ ดร. วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดีกิตติคุณ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 
ดำเนินรายการโดย รองศาสตราจารย์ ดร.นริศ ชัยสูตร ประธานกรรมการบริหาร สถาบันวิทยาการธรรมศาสตร์เพื่อสังคม
​
          อาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ คือนักเศรษฐศาสตร์ นักการศึกษา ที่มีบทบาทในสังคมไทยตั้งแต่ปี 2492-2519
ในอดีตอาจารย์ป๋วยเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ และผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ทำงานควบคุมทั้งนโยบายด้านการเงิน การคลังและงบประมาณของประเทศ นอกจากนี้อาจารย์ป๋วยยังมีบทบาทสำคัญในการผลักดันให้มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จึงนับได้ว่าเป็นหนึ่งใน “ปูชนียบุคคล” สำคัญในหน้าประวัติศาสตร์ของประเทศไทย

          อาจารย์ป๋วยได้รับ รางวัลแมกไซไซ สาขาการทำงานในภาครัฐคนแรกของประเทศเมื่อปี 2508 คณะกรรมการฯ ได้ประกาศเกียรติคุณอาจารย์ป๋วยไว้ว่า “การปฏิบัติงานของ ดร.ป๋วย เป็นเครื่องยืนยันว่า บุคคลเพียงผู้เดียวเท่านั้น ก็สามารถจะเป็นกำลังสำคัญในอันที่จะนำความเจริญก้าวหน้ามาสู่ประเทศตนได้ แม้กระทั่งในยามที่มีการทุจริตในวงราชการเกิดขึ้นอยู่เสมอในประเทศกำลังพัฒนาหลายๆ ประเทศ”
          บันทึกปาฐกถาและงานเขียนของท่านเกี่ยวกับอุดมคติ ประจำใจยืนยันว่า คนเรา จะเป็นคนที่สมบูรณ์ได้ ต้องระลึกเสมอถึงคุณธรรม 3 ข้อคือ

ความจริง ความงาม และความดี
ความจริง หมายถึงสัจธรรม และหลักวิชา ที่มีคุณประโยชน์
ความงาม หมายถึงสิ่งที่ทำให้มนุษย์มีวัฒนธรรม คือมีความสุนทรียะ ทั้งวรรณศิลป์ ศิลปกรรม นาฏศิลป์ และการดนตรี รวมถึงการกีฬาต่างๆ
ความดี หมายถึง มีความซื่อสัตย์สุจริต การไม่เบียดเบียนประทุษร้ายต่อกัน

           ดร.ป๋วย มีความซื่อสัตย์สุจริต รักความถูกต้อง ไม่ให้เอาเปรียบใคร ท่านมีความคิดและการปฏิบัติ ที่ยึดหลักมนุษยธรรมและความเป็นธรรม เป็นที่ตั้ง ดร.ป๋วยมีความเห็นว่า “คนรวยควรเสียภาษีในอัตราสูงกว่าคนจนจึงจะยุติธรรม คนจนจริงๆ นอกจากจะไม่ควรเสียภาษีแล้ว รัฐบาลควรจะจ่ายเงินอุดหนุนให้ด้วย เพราะมนุษยธรรมเป็นพี่น้องฝาแฝดกับความยุติธรรม”

     ผู้คนในสังคมที่ยึดมั่นอุดมการณ์และศรัทธาในปูชนียบุคคลต้นแบบ ยังคงขับขาน สานต่อ แนวความคิดของอาจารย์ป๋วย
​ ไม่เพียงจัดระบบการศึกษาเพื่อสร้างบัณฑิตเป็นมนุษย์ที่ดี เป็นพลเมืองดี เป็นผู้มีความสามารถในการประกอบวิชาชีพเท่านั้น          
  คนไทยทุกคนควรปฏิบัติตามและนำไปเป็นแบบอย่าง จะนำมาซึ่งความยุติธรรม ความโปร่งใส 
      หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ในการบรรยายครั้งนี้ ผู้อบรมหลักสูตร นมธ.รุ่น16 จะได้รำลึกถึงความดีของ ดร.ป๋วย และนำข้อคิดไปปรับใช้กับตนเองและพัฒนาองค์กรต่อไป    
เข้าสู่ช่วงกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 
     วันนี้ รุ่นพี่ นมธ.รุ่น15 มาประชุมเตรียมงานรับเพื่อนใหม่ หลังจากประชุมเสร็จ อยู่พบปะสังสรรค์กับ รุ่นน้อง นมธ.รุ่น 16 
ทำให้บรรยากาศในช่วงกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เป็นไปอย่างสนุกสนาน หลังจากที่อบรมอย่างเข้มข้นมาทั้งวัน 
      ตอนนี้ เป็นช่วงเวลาแห่งเสียงเพลง และรอยยิ้ม ของผู้อบรมกันแล้วล่ะค่ะ 
​

      บรรยากาศการอบรมในสัปดาห์หน้าจะเป็นอย่างไร อย่าลืมติดตามค่ะ
0 Comments



Leave a Reply.

    ทีมงานนมธ.

    ทีมคณะทำงานมูลนิธินมธ.

    บรรยากาศอบรม

    December 2022
    November 2022
    September 2022
    August 2022
    May 2022
    November 2021
    December 2020
    November 2020
    October 2020
    September 2020
    August 2020
    July 2020
    March 2020
    February 2020

    ประเภท

    All
    นมธ.รุ่นที่ 13
    นมธ. รุ่นที่ 14
    นมธ.รุ่นที่ 15
    นมธล. รุ่นที่ 3
    นมธล. รุ่นที่ 3

    RSS Feed

Picture
  • หน้าแรก
  • ​เกี่ยวกับสถาบัน
  • รายละเอียดหลักสูตร
  • สมัครอบรมออนไลน์
  • กิจกรรมเพื่อสังคม
  • ทำเนียบและกิจกรรมรุ่น
  • ข่าวสาร
  • ดาวน์โหลดเอกสารการอบรม
  • ติดต่อเรา

หลักสูตรนักบริหารระดับสูง "ธรรมศาสตร์เพื่อสังคม" (นมธ.)
ที่ทำการหลักสูตร (นมธ.) ตั้งอยู่ที่ สมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
เลขที่ 99 ซอยงามดูพลี ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

โทร. 080-574-0042 
TLPTU Staff Only​
.......................................................................................
​Support  by www.webstriple.com  Managed by TLPTU
  • หน้าแรก
  • รายละเอียดหลักสูตร
    • หลักสูตรธรรมศาสตร์เพื่อสังคม
      • หลักการและเหตุผล นมธ.
      • การเรียนภาคทฤษฏี นมธ.
      • การเรียนภาคปฏิบัติ นมธ.
    • หลักสูตรธรรมศาสตร์เพื่อสังคมและโลก
      • หลักการและเหตุผล นมธล.
      • การเรียนภาคทฤษฏี นมธล.
      • การเรียนภาคปฏิบัติ นมธล.
    • หลักสูตร นมธจ.
      • หลักการและเหตุผล นมธจ.
  • เกี่ยวกับสถาบัน
    • ประวัติความเป็นมา
    • หลักการและเหตุผล
    • วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม
    • โครงสร้างผู้บริหาร
  • ลงทะเบียนออนไลน์
    • สมัคร นมธ. ๒๑
  • กิจกรรมเพื่อสังคม
    • ปีที่ 8
    • ปีที่ 7
    • ปีที่ 6
    • ปีที่ 5
    • ปีที่ 4
    • ปีที่ 3
    • ปีที่ 2
    • ปีที่ 1
  • ทำเนียบและกิจกรรมรุ่น
    • นมธ.
      • นมธ. 16
      • นมธ. 15
      • นมธ. 14
      • นมธ. 13
      • นมธจ. ๓
      • นมธ. 12
      • นมธ. 11
      • นมธ. 10
      • นมธ. 9
      • นมธ. 8
      • นมธ. 7
      • นมธ. 6
      • นมธ. 5
      • นมธ. 4
      • นมธ. 3
      • นมธ. 2
      • นมธ. 1
    • นมธล.
      • นมธล. 3
      • นมธล. 2
      • นมธล. 1
  • ข่าวสาร
    • บรรยากาศการเรียนรู้
    • คลิปวีดิโอข่าวสาร
  • ดาวน์โหลดเอกสารการอบรม
  • ติดต่อเรา
  • นมธล. 3